เคยได้ยินวลีนึงของคนญี่ปุ่นที่เป็นคำว่า Ichigo Ichie (อ่านว่าอิชิโกะ อิชิเอะ) ไหมคะ? ประโยคนี้มีต้นกำเนิดมาจากพิธีชงชาแบบดั้งเดิมของชาวญี่ปุ่น แล้วมันแปลออกมาได้ว่า “การพบกันเพียงครั้งเดียว” วลีอันสวยงามนี้ ยังสื่อความหมายที่ลึกซึ้งในเรื่องของการหวงแหนทุกช่วงเวลาให้เหมือนกับว่ามันเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวในชีวิต และทุกครั้งที่เราได้พบกับใครก็ตามควรถือเป็นครั้งแรกและครั้งสุดท้าย ควรชื่นชมและเพลิดเพลินไปกับการพบกันให้อย่างเต็มที่.…
Self Improvement
สำรวจแนวคิดที่น่าสนใจสี่อย่างของการดำเนินชีวิตแบบญี่ปุ่น ได้แก่ อิคิไก วาบิซาบิ กามัน และไคเซ็น แต่ละแนวคิดเหล่านี้แสดงถึงแง่มุมเฉพาะของวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่รวมเข้ากับชีวิตประจำวัน…
ปี๊ปๆ…ปี๊ป…ปี๊ปๆ…ปี๊ปเสียงนาฬิกาปลุกของคุณดังและต้องเผชิญกับการตัดสินใจครั้งแรกของวัน: “กดปุ่มเลื่อนปลุกไหม” คุณเดินไปที่ตู้เสื้อผ้าคำถามถัดมา: “จะใส่ชุดอะไรดี” คุณเช็คอีเมล “จะตอบตอนนี้หรือไว้ทีหลัง?” นี่เป็นเพียงไม่กี่นาทีแรกของคุณเมื่อตื่นขึ้น มันเป็นแค่สองสามอย่างแรกจากพันอย่างที่คุณจะต้องเลือกตลอดทั้งวัน…
เมื่อตอนยังเด็ก เราอาจจะไม่ทันสังเกตถึงความลื่นไหลที่เราสามารถเรียกชื่อนักแสดง ร้านอาหาร หรือครูประจำชั้นได้อย่างทันที แต่เมื่ออายุมากขึ้น สมองอาจไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนแต่ก่อนนัก…
การคิดบวกไม่ใช่คำตอบของทุกอย่าง อันตรายของ “good vibes only” อาจทำให้เรามองไม่เห็นว่าปัญหาอยู่ที่ไหน…
คุณจะเลือกวนเวียนอยู่กับความคิด หรือหยุดวนลูปนี้แล้วลงมือทำอะไรซักอย่าง ทำอะไรบางอย่าง ทำอะไรก็ได้ ทำสิ่งเล็กๆทีละนิด เพื่อให้จิตใจคุณได้หยุดพักจากวังวนบ้าง การคิดมากก็แค่เป็นตัวย้ำเตือนความเจ็บปวด ที่คุณแคร์บางสิ่งมากไป หรือกระทั่งไม่ได้สนใจมันเลย…
การที่คนเราทำอะไรไม่สำเร็จสักอย่าง ในมุมของการผัดวันประกันพรุ่ง ไม่ว่าจะงานใหญ่ หรือ Task งานเล็กๆ หากพูดถึงในแง่ของงานใหญ่อันที่จริงใครอาจจะปฏิเสธว่าฉันทำมันแล้ว ลงมือทำบางอย่างไปหลายต่อหลายครั้ง ก็ล้มเหลว…
แวบเดียวก็ครบ 1 ปีแล้วที่เคยเขียนรีวิวหนังสือหมวดเทคโนโลยีใน book depository กลับมาที่เดือนกันยายนอีกครั้ง…
มีหนังสือเล่มหนึงที่น่าสนใจของคุณเควิน ครูส ได้รวบรวมเคล็ดลับการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ที่แตกต่างจากเล่มอื่นๆตรงที่ว่า มันมีวิธีช่วยให้ประสิทธิภาพการทำงานเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าและพร้อมกับความสุขของเราในเวลาเดียวกัน…
พฤติกรรม 4 ประการที่เป็นรากฐานสําคัญของการควบคุมการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน นั่นก็คือ โมเดล CORD จากตอนหนึ่งของหนังสือ Productivity Ninja …