Browsing Category

SELF DEVELOPMENT

SELF DEVELOPMENT

จิตวิทยาของการผัดวันประกันพรุ่ง

การผัดวันประกันพรุ่งไม่ใช่แค่ความขี้เกียจหรือบริหารเวลาที่ไม่ดีเท่านั้น แต่เป็นปรากฏการณ์ทางจิตวิทยาที่ซับซ้อนซึ่งส่งผลกระทบต่อพวกเราหลายๆคน ในบล็อกนี้ เราจะสำรวจจิตวิทยาเบื้องหลังการผัดวันประกันพรุ่ง ว่ามีผลกระทบอะไรบ้าง และกลยุทธ์ในการเอาชนะกันค่ะ…

Continue Reading

bias
SELF DEVELOPMENT

ทำความเข้าใจอคติทางความคิด

ทำไมบางครั้งเราถึงได้ตัดสินใจอย่างไร้เหตุผล แม้จะคิดว่าตัวเองกำลังใช้ตรรกะอยู่? หรือว่าทำไมมันง่ายมากที่จะเห็นข้อบกพร่องในความคิดของคนอื่น แต่กลับมองไม่เห็นของตัวเอง? …

บอกความรู้สึก
HOW TO SELF DEVELOPMENT

ทำไมการ “เปิดเผยความรู้สึกทั้งหมดออกไป” ถึง ไม่ใช่ วิธีที่ดีที่สุด

การเปิดใจเกี่ยวกับความรู้สึกอาจเป็นวิธีที่ดีในการทำความเข้าใจและจัดการกับอารมณ์ของคุณ แต่การ "เปิดเผยทั้งหมด" ออกไปอาจไม่ได้นำไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดเสมอ…

一期一会
LIFESTYLES SELF DEVELOPMENT

อิชิโกะ อิชิเอะ (一期一会 ) พบกันเพียงครั้งหนึ่ง

เคยได้ยินวลีนึงของคนญี่ปุ่นที่เป็นคำว่า Ichigo Ichie (อ่านว่าอิชิโกะ อิชิเอะ) ไหมคะ? ประโยคนี้มีต้นกำเนิดมาจากพิธีชงชาแบบดั้งเดิมของชาวญี่ปุ่น แล้วมันแปลออกมาได้ว่า “การพบกันเพียงครั้งเดียว” วลีอันสวยงามนี้ ยังสื่อความหมายที่ลึกซึ้งในเรื่องของการหวงแหนทุกช่วงเวลาให้เหมือนกับว่ามันเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวในชีวิต และทุกครั้งที่เราได้พบกับใครก็ตามควรถือเป็นครั้งแรกและครั้งสุดท้าย ควรชื่นชมและเพลิดเพลินไปกับการพบกันให้อย่างเต็มที่.…

SELF DEVELOPMENT

แนวคิดการใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น

สำรวจแนวคิดที่น่าสนใจสี่อย่างของการดำเนินชีวิตแบบญี่ปุ่น ได้แก่ อิคิไก วาบิซาบิ กามัน และไคเซ็น แต่ละแนวคิดเหล่านี้แสดงถึงแง่มุมเฉพาะของวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่รวมเข้ากับชีวิตประจำวัน…

decision fatigue
SELF DEVELOPMENT

รู้ไหมว่าวันหนึ่งเราตัดสินใจเป็นหมื่นครั้ง

ปี๊ปๆ…ปี๊ป…ปี๊ปๆ…ปี๊ปเสียงนาฬิกาปลุกของคุณดังและต้องเผชิญกับการตัดสินใจครั้งแรกของวัน: “กดปุ่มเลื่อนปลุกไหม” คุณเดินไปที่ตู้เสื้อผ้าคำถามถัดมา: “จะใส่ชุดอะไรดี” คุณเช็คอีเมล “จะตอบตอนนี้หรือไว้ทีหลัง?” นี่เป็นเพียงไม่กี่นาทีแรกของคุณเมื่อตื่นขึ้น มันเป็นแค่สองสามอย่างแรกจากพันอย่างที่คุณจะต้องเลือกตลอดทั้งวัน…

LIFESTYLES SELF DEVELOPMENT

หมอกจางๆและควัน คล้ายกันจนบางที…รู้สึกเหมือนสมองฝ่อ

เมื่อตอนยังเด็ก เราอาจจะไม่ทันสังเกตถึงความลื่นไหลที่เราสามารถเรียกชื่อนักแสดง ร้านอาหาร หรือครูประจำชั้นได้อย่างทันที แต่เมื่ออายุมากขึ้น สมองอาจไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนแต่ก่อนนัก…