ถ้าคุณชอบหนังเรื่อง ‘Elemental’ ของ Disney Pixar และอยากเจาะลงไปในรายละเอียดอีกสักหน่อย โพสต์นี้น่าจะมีประโยชน์ เพราะเราจะพูดถึงบทเรียนชีวิตที่ได้จากอนิเมชั่นเรื่องนี้ (: Elemental เป็นเรื่องราวสดใสมีชีวิตชีวาชวนให้เราเข้าไปสู่โลกที่ชาวธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ อาศัยอยู่ในเมืองอันพลุกพล่านชื่อว่า Element City หนังได้บอกเล่าเรื่องราวอันน่าหลงใหลของสาวธาตุไฟ เอ็มเบอร์ และ เวด หนุ่มมนุษย์น้ำผู้ที่ซึ่งค้นพบว่าความแตกต่างสามารถทำให้พวกเขาได้ใกล้ชิดกันมากขึ้นเราชอบการผสมกันระหว่างความตลก อารมณ์ซึ้งๆ และภาพที่น่าทึ่งนะ แต่อย่างที่หลายๆคนหวังจากการ์ตูนของ Pixar เรื่องนี้ให้บทเรียนดีๆกับคนดูอย่างเราเช่นกัน ใน Elemental ได้ให้ข้อคิดอันมีค่าเกี่ยวกับการเป็นที่ยอมรับ ความรัก การทำตามความฝัน และพลังแห่งการสื่อสาร…
เคยได้ยินวลีนึงของคนญี่ปุ่นที่เป็นคำว่า Ichigo Ichie (อ่านว่าอิชิโกะ อิชิเอะ) ไหมคะ? ประโยคนี้มีต้นกำเนิดมาจากพิธีชงชาแบบดั้งเดิมของชาวญี่ปุ่น แล้วมันแปลออกมาได้ว่า “การพบกันเพียงครั้งเดียว” วลีอันสวยงามนี้ ยังสื่อความหมายที่ลึกซึ้งในเรื่องของการหวงแหนทุกช่วงเวลาให้เหมือนกับว่ามันเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวในชีวิต และทุกครั้งที่เราได้พบกับใครก็ตามควรถือเป็นครั้งแรกและครั้งสุดท้าย ควรชื่นชมและเพลิดเพลินไปกับการพบกันให้อย่างเต็มที่.…
สำรวจแนวคิดที่น่าสนใจสี่อย่างของการดำเนินชีวิตแบบญี่ปุ่น ได้แก่ อิคิไก วาบิซาบิ กามัน และไคเซ็น แต่ละแนวคิดเหล่านี้แสดงถึงแง่มุมเฉพาะของวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่รวมเข้ากับชีวิตประจำวัน…
การคิดบวกไม่ใช่คำตอบของทุกอย่าง อันตรายของ “good vibes only” อาจทำให้เรามองไม่เห็นว่าปัญหาอยู่ที่ไหน…
เชื่อว่าคงไม่มีใครไม่รู้จักหมีพูห์ เจ้าหมีพุงป่องใส่เสื้อสีแดง จากป่าร้อยเอเคอร์ เรื่องราวของหมีพูห์และผองเพื่อนจากการ์ตูน winnie the pooh ได้แฝงข้อคิดและคำคมเอาไว้เยอะมาก ซึ่งตอนเด็กๆเราอาจไม่ทันได้สังเกตหลายๆ quotes จาก winnie the pooh ได้ให้แง่คิดกับชีวิตของเรา ทั้งในด้านความรัก ความสัมพันธ์ ความฝัน และแง่มุมต่างๆของชีวิต ที่หากเรากลับมาดูอีกตอนโต อาจทำให้เราเชื่อมโยงตัวเราเองกับหมีพูห์และเพื่อนๆของเขาได้ ไม่ว่าจะเป็น พิเล็ท อียอร์ อาว คริสโตเฟอร์ รอบิ้น…
เรื่องนี้เป็นอนิเมะ ซับไทย ที่เปิดมาแล้วคุณอาจสะดุดกับคำคมที่ขึ้นมาตอนเริ่มต้นของแต่ละตอน เพราะก่อนที่จะมาทำอนิเมะ เรื่องนี้เป็นไลท์โนเวล หรือนิยายที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากผลงานของปรมาจารย์ชั้นครู และกวีเอกยุคเก่าแก่ของโลกสำหรับคนที่ชอบศึกษาด้านปรัชญา หรือชอบหาความหมายเกี่ยวกับชีวิตแนะนำว่าไม่ควรพลาดค่ะ…
แม้ว่านิยามความสุขของแต่ละคนจะแตกต่างกัน ตามประสบการณ์ของชีวิต แต่ใครก็ตามที่สามารถบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ได้ เขาก็จะมีแนวโน้มที่จะมีความสุขมากขึ้น…
Alan Lightman นักฟิสิกส์และนักเขียน เคยกล่าวไว้ว่า การที่เราไม่ให้เวลากับตัวเอง สักนาที หรือ ชั่วโมง โดยปราศจากจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และสิ่งรบกวนต่างๆนั้น ทำให้เราเสี่ยงต่อการสูญเสียความสามารถของเราในการรู้ว่าเราเป็นใคร และอะไรคือสิ่งที่สำคัญสำหรับเรา…
วันนี้เราจะพาเจาะลึกเรื่องราวของ AI Agent ผ่านการใช้งานจริงกับ DingTalk AI Assistant ซึ่งเป็นฟีเจอร์ AI ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยให้การทำงานในองค์กรมีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด เราจะไม่เน้นความซับซ้อนหรือศัพท์เทคนิคมากเกินไป แต่จะเล่าให้ฟังแบบสบายๆ ในมุมมองของผู้ใช้งาน เอาละ มาเริ่มกัน…
การมาถึงของยุคปัญญาประดิษฐ์ (AI) เกิดขึ้นเร็วกว่าที่พวกเราคิดไว้ เมื่อพิจารณาจากซอฟต์แวร์ออฟฟิศหลักๆที่เราใช้งานกัน แอปบนมือถือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไปจนถึงเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านที่เริ่มผสานรวมเทคโนโลยี AI อย่างเต็มรูปแบบ เหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจและความเชื่อมั่นของตลาดต่อการใช้งาน AI อย่างชัดเจน นอกจากนี้เส้นทางเทคโนโลยีสองสาย ระหว่าง Copilot และ AI Agent ยังแสดงให้เห็นว่า AI ได้แทรกซึมเข้าสู่ชีวิตประจำวันของเราไปแล้ว…
ในยุคที่พวกเราถูกท่วมท้นไปด้วยข้อมูลอันมากมาย เราพยายามค้นหาระบบและเครื่องมือเพื่อจัดการกับความรู้ต่างๆ หนึ่งในแนวคิดที่ได้รับความนิยมคือ “Second Brain” หรือสมองที่สอง ซึ่งเป็นระบบจัดการความรู้ส่วนตัวที่ช่วยให้เรา ‘เก็บ’ ‘จัดระเบียบ’ และ’นำความรู้กลับมาใช้’ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่เป็นที่น่าสนใจว่า ร่างกายของเรามี “สมองที่สอง” อยู่แล้วโดยธรรมชาติ นั่นคือระบบประสาทในลำไส้ หรือที่เรียกว่า “Gut Brain” ซึ่งมีเซลล์ประสาทมากกว่า 100 ล้านเซลล์ ทำงานเป็นเครือข่ายซับซ้อนและมีการสื่อสารโดยตรงกับสมองของเรา บทความนี้จะพาคุณไปสำรวจความเชื่อมโยงระหว่างการจัดการความรู้แบบดิจิตอล (Second Brain) กับสัญชาตญาณและความรู้สึกจากลำไส้เรา (Gut Brain) และค้นพบว่าทำไมการฟังเสียงจากทั้งสองแหล่งนี้จึงสำคัญต่อการตัดสินใจในชีวิตประจำวัน เพราะบางครั้ง การตัดสินใจที่ดีที่สุดไม่ได้มาจากข้อมูลที่มากที่สุด แต่มาจากการผสมกันระหว่างความเข้าใจเชิงวิเคราะห์และสัญชาตญาณที่มาจากประสบการณ์…
มีพอดแคสตอนนึงที่มีคนวิเคราะห์แนวคิด ของ Eckhart Tolle ที่ว่า “ตัวตนที่แท้จริงของเรา” ไม่ใช่ความคิดของเราเราก็เลยมีคำถามว่า แล้วตัวตนที่แท้จริงของเรา คืออะไร? ทอเลอบอกว่าตัวตนที่แท้จริงของเราไม่ได้จำกัดอยู่แค่ความคิดหรือกระแสความคิดที่ไหลผ่านจิตใจ เรามักจะหลงคิดว่าตัวเราคือความคิดของเรา แต่ในความเป็นจริงแล้ว เราคือผู้สังเกตความคิดเหล่านั้น…
Disney Princess Syndrome | เมื่อโลกแห่งความจริงไม่ได้มีเจ้าชายมาช่วยเสมอ (ตอนที่ 2)
หลายคนเติบโตมาพร้อมกับเรื่องราวของเจ้าหญิงที่พบกับรักแท้และใช้ชีวิตอย่างมีความสุขตลอดกาล แต่พอเราก้าวเข้าสู่โลกแห่งความเป็นจริง กลับพบว่าชีวิตไม่ได้ง่ายหรือสมบูรณ์แบบเหมือนในเทพนิยาย Disney Princess Syndrome อาจดูไม่ใช่ปัญหาใหญ่นัก แต่ถ้าแนวคิดนี้ฝังรากลึกในมุมมองของเรา มันสามารถส่งผลต่อทุกด้านของชีวิต ไม่ว่าจะเป็นความรัก การงาน หรือแม้แต่วิธีที่เรามองตัวเองและโลกใบนี้…
Disney Princess Syndrome | เมื่อโลกแห่งความจริงไม่ได้มีเจ้าชายมาช่วยเสมอ (ตอนที่ 1)
ในวัยเด็กเราโตมากับนิทานที่จบแบบ “Happy Ending” เจ้าหญิงมักพบกับอุปสรรค แต่สุดท้ายก็มีเจ้าชายมาช่วยให้หลุดพ้นจากความทุกข์ ทุกอย่างถูกแก้ไขได้ด้วย “รักแท้” หรือ “โชคชะตา” ที่นำพาความสุขมาให้ แต่เมื่อโตขึ้น เรากลับพบว่าชีวิตไม่ได้ง่ายดายแบบนั้น ไม่มีเจ้าชาย ไม่มีนางฟ้าแม่ทูนหัว และไม่มีเวทมนตร์ที่จะเสกให้ปัญหาทุกอย่างหายไป สิ่งที่เหลืออยู่คือ ตัวเราเอง กับความเป็นจริงที่ต้องเผชิญ…
ในยุคที่ข้อมูลท่วมท้น การแยกแยะระหว่างความจริงกับความเชื่อที่ผิดๆเป็นทักษะสำคัญ ตรรกะวิบัติและอคติทางความคิด เป็นสองคำที่มักถูกใช้สลับกันในการอธิบายความผิดพลาดของกระบวนการคิด แต่แท้จริงแล้ว ทั้งสองคำนี้มีความหมายและที่มาที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ การทำความเข้าใจความแตกต่างนี้จะช่วยให้เราสามารถประเมินข้อมูล ตัดสินใจ รู้เท่าทัน และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น…
บทความนี้เขียนขึ้นมาเพื่อตอบข้อสงสัยของตัวเอง เนื่องจากไปเจอโพสหนึ่งบนโซเชียลมีเดียบอกว่า People who have a high spiritual intelligence don't just read word. They read mood, they read energy, they read vibes and body language. Their sense are supreme. They might not say much, but they notice everything. มาทำความเข้าใจมันให้มากขึ้น…
คุณรู้ไหมว่าอะไรที่อันตรายยิ่งกว่า AI ? บทความนี้ Carlos E. Perez ได้พาคุณไปสำรวจรายละเอียดและแสดงให้เห็นว่าเทคโนโลยีในปัจจุบันนั้นทำให้เราโง่ขึ้นได้ยังไง พวกเราต่างเคยมีประสบการณ์ ในการใช้จีพีเอสนำทางไปยังที่ๆไม่คุ้นเคย จนมานึกได้ทีหลังว่าเราไม่มีความทรงจำหรือความสามารถที่จะไปยังสถานที่นั้นอีกครั้งหากปราศจากการนำทางของ GPS หรือกว่าจะจำทางได้นั้นก็ต้องพึ่งมันหลายหนเลยทีเดียว ไม่ใช่เพียงสัญชาตญาณเรื่องทิศทางของเราลดลงเพราะไม่ค่อยได้ใช้งาน แต่ความทรงจำของเราก็ด้วย พวกเราต่างสูญเสียความสามารถในการรำลึกเพราะการใช้อากู๋มากไปนั่นเอง ตอนนี้เราส่วนใหญ่จะชอบนึกไปในทางว่าเราจะค้นหาอะไรมากกว่าจดจำรายระเอียดของสิ่งๆนั้น…
หนังสือเล่มนี้เขียนโดย ชาฮิดา อาราบี เป็นแหล่งข้อมูลที่ช่วยบุคคลที่มีความอ่อนไหวสูงในการจัดการความสัมพันธ์กับคนที่เป็นพิษในชีวิต อาราบีใช้ความเข้าใจของเธอเกี่ยวกับความอ่อนไหว ความฉลาดทางอารมณ์ และจิตวิทยา เพื่อให้แนวคิดและแนวทางเชิงปฏิบัติที่เอาไปใช้ได้จริง และนี้คือบทเรียนและข้อคิดสำคัญ 10 ข้อจากหนังสือ…