เคยได้ยินวลีนึงของคนญี่ปุ่นที่เป็นคำว่า Ichigo Ichie (อ่านว่าอิชิโกะ อิชิเอะ) ไหมคะ? ประโยคนี้มีต้นกำเนิดมาจากพิธีชงชาแบบดั้งเดิมของชาวญี่ปุ่น แล้วมันแปลออกมาได้ว่า “การพบกันเพียงครั้งเดียว” วลีอันสวยงามนี้ ยังสื่อความหมายที่ลึกซึ้งในเรื่องของการหวงแหนทุกช่วงเวลาให้เหมือนกับว่ามันเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวในชีวิต และทุกครั้งที่เราได้พบกับใครก็ตามควรถือเป็นครั้งแรกและครั้งสุดท้าย ควรชื่นชมและเพลิดเพลินไปกับการพบกันให้อย่างเต็มที่.…
time management
ปี๊ปๆ…ปี๊ป…ปี๊ปๆ…ปี๊ปเสียงนาฬิกาปลุกของคุณดังและต้องเผชิญกับการตัดสินใจครั้งแรกของวัน: “กดปุ่มเลื่อนปลุกไหม” คุณเดินไปที่ตู้เสื้อผ้าคำถามถัดมา: “จะใส่ชุดอะไรดี” คุณเช็คอีเมล “จะตอบตอนนี้หรือไว้ทีหลัง?” นี่เป็นเพียงไม่กี่นาทีแรกของคุณเมื่อตื่นขึ้น มันเป็นแค่สองสามอย่างแรกจากพันอย่างที่คุณจะต้องเลือกตลอดทั้งวัน…
ฟรานเชสโก ชิริลโล บัญญัติศัพท์คำว่า “ปอมโมโดโร” ซึ่งแปลว่ามะเขือเทศ ในช่วงปลายทศวรรษ 1980 เขาใช้นาฬิกาจับเวลาที่เป็นรูปมะเขือเทศตอนที่เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัย แล้วมันทำงานยังไง? เรามาแบ่งช่วงเวลาของ pomodoro ทีละขั้นตอนกันค่ะ…
มีหนังสือเล่มหนึงที่น่าสนใจของคุณเควิน ครูส ได้รวบรวมเคล็ดลับการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน ที่แตกต่างจากเล่มอื่นๆตรงที่ว่า มันมีวิธีช่วยให้ประสิทธิภาพการทำงานเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าและพร้อมกับความสุขของเราในเวลาเดียวกัน…
ผ่านไปแล้วครึ่งปี 2021 อาจเป็นเรื่องยากที่จะคุมเกมชีวิตได้ เพราะสิ่งรบกวนต่างๆรอบตัวมันมีแต่จะเพิ่มมากขึ้น เพิ่มมากขึ้น... รายการสิ่งที่จะต้องทำนั้น ไม่มีวันสิ้นสุด... และดูเหมือนว่าจะไม่มี เวลา หรือ เครื่องมือ อะไรที่เพียงพอสำหรับการที่ทำอะไรให้มันสำเร็จได้เลย…
ในหนึ่งวัน ทุกคนมีเวลา 24 ชั่วโมง แต่ทำไม เราล้วนมีผลลัพท์ในชีวิตที่ แตกต่าง ความไม่สมดุลนี้ ทำให้ชาร์ลรู้สึกแปลกใจเมื่อเติบโตขึ้น เขาจำได้ว่า ทุกคนบอกว่าการทำงานหนักนั้นคือเคล็ดลับสู่ความสำเร็จ แต่แม่ของเขาก็ทำทั้ง 2 งาน จนชาร์ลโต พวกเขาก็ยังไม่รวย ต่อมา ทุกคนก็บอกว่า ความลับคือ การศึกษา ถ้าชาร์ลเรียนหนักและได้เข้ามหาวิทยาลัยดี ๆ ก็จะประสบความสำเร็จ เขารู้ว่ามันไม่ใช่ความจริงเลย ทำไมคนที่จบด็อกเตอร์ยังต้องดิ้นรนหางานกันล่ะ? มีบางอย่างไม่ได้บอกเอาไว้ ตั้งแต่โตมาชาร์ลไม่เคยรู้จักคนรวย ดังนั้นเขาจึงเริ่มต้นจากกองหนังสือเป็นตั้งๆ แต่ละเล่มมันได้มอบอัญมณีชิ้นเล็กๆ แต่อัญมณีที่ได้จากการอ่านนั้นก็ยังไม่เพียงพอ เขาต้องใช้ประสบการณ์กว่า 13 ปี ถึงจะเข้าใจ…
กำลังลังเล ไม่รู้จะปรึกษาใครดี ลองใช้ WADM | เครื่องมือช่วยวิเคราะห์การตัดสินใจ
จะทำยังไงเมื่อต้องเลือกสิ่งสำคัญที่อยู่ตรงหน้า ? จะทำยังไงเมื่อต้องตัดสินใจเรื่องสำคัญในชีวิต ? ลิสต์ ข้อดี-ข้อเสีย ออกมาดีไหม ? หรือว่าโยนเหรียญหัวก้อยเอา ? สุ่มจับเลข 1 – 10 ? หรือพักโครงการไว้ก่อน ค่อยคิดทีหลัง ? ให้คนอื่นตัดสินใจแทนไปเลย ? แน่นอนว่า มีหลายวิธีมากมาย แต่เมื่อมาถึงจังหวะที่ต้องตัดสินจากปัจจัยที่สำคัญตรงหน้า มันมีวิธีการที่ดีกว่านั้นค่ะ…
มีหลายอย่างที่ต้องเรียนรู้ แต่เวลามีจำกัด โลกของเรามีสิ่งต่างๆมากมายให้เรียนรู้ มีหนังสือธุรกิจเป็นล้าน ๆ เล่ม, TED talks กว่า 3,000 คลิป, แหล่งเรียนออนไลน์ MOOCs กว่า 10,000 ไซต์, อีเลิร์นนิ่งอีกเป็นร้อยเป็นพันคอร์ส และบทความที่ให้ความรู้บนแพลตฟอร์มอื่นๆอีกมากมาย บทความที่คุณนั่งอ่านอยู่ตอนนี้ก็เป็นหนึ่งในหลายสิบบทความบนเว็บไซต์นี้ การเลือกสิ่งที่ดีที่สุดและเกี่ยวข้องกับคุณที่สุดจากทั้งหมดนั้นดูยากใช่เล่น…
มีบทความหนึ่งของชาร์ลเงอร์นักการตลาดที่พูดถึงเกี่ยวกับเรื่องของการมาสาย เหตุผลหนึ่งที่เขาไม่เข้าใจเท่าไหร่เมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ คือทำไมคนถึงชอบมาสายกันนัก เข้าใจกันใช่ไหมคะ ว่าชาร์ลเงอร์กำลังหมายถึงอะไร ถ้างานเริ่ม 8 โมง เราควรจะบอกเพื่อนร่วมงาน ให้มาปรากฎตัวก่อนเวลาสัก 7 โมง เพื่อที่พวกเขาจะได้มาทันเวลา และบางครั้งความช้านี่แหละที่ทำร้ายพวกเขาเอง เมื่อพวกเขาปรากฎตัวช้าก่อนเวลาเริ่มงานหลายหนทำให้ภาพลักษณ์นั้นแสดงถึงการขาดความรับผิดชอบ…
Alan Lightman นักฟิสิกส์และนักเขียน เคยกล่าวไว้ว่า การที่เราไม่ให้เวลากับตัวเอง สักนาที หรือ ชั่วโมง โดยปราศจากจากอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และสิ่งรบกวนต่างๆนั้น ทำให้เราเสี่ยงต่อการสูญเสียความสามารถของเราในการรู้ว่าเราเป็นใคร และอะไรคือสิ่งที่สำคัญสำหรับเรา…