หนังสือเล่มนี้เขียนโดย ชาฮิดา อาราบี เป็นแหล่งข้อมูลที่ช่วยบุคคลที่มีความอ่อนไหวสูงในการจัดการความสัมพันธ์กับคนที่เป็นพิษในชีวิต อาราบีใช้ความเข้าใจของเธอเกี่ยวกับความอ่อนไหว ความฉลาดทางอารมณ์ และจิตวิทยา เพื่อให้แนวคิดและแนวทางเชิงปฏิบัติที่เอาไปใช้ได้จริง และนี้คือบทเรียนและข้อคิดสำคัญ 10 ข้อจากหนังสือ…
stress
ปี๊ปๆ…ปี๊ป…ปี๊ปๆ…ปี๊ปเสียงนาฬิกาปลุกของคุณดังและต้องเผชิญกับการตัดสินใจครั้งแรกของวัน: “กดปุ่มเลื่อนปลุกไหม” คุณเดินไปที่ตู้เสื้อผ้าคำถามถัดมา: “จะใส่ชุดอะไรดี” คุณเช็คอีเมล “จะตอบตอนนี้หรือไว้ทีหลัง?” นี่เป็นเพียงไม่กี่นาทีแรกของคุณเมื่อตื่นขึ้น มันเป็นแค่สองสามอย่างแรกจากพันอย่างที่คุณจะต้องเลือกตลอดทั้งวัน…
เมื่อตอนยังเด็ก เราอาจจะไม่ทันสังเกตถึงความลื่นไหลที่เราสามารถเรียกชื่อนักแสดง ร้านอาหาร หรือครูประจำชั้นได้อย่างทันที แต่เมื่ออายุมากขึ้น สมองอาจไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนแต่ก่อนนัก…
คุณจะเลือกวนเวียนอยู่กับความคิด หรือหยุดวนลูปนี้แล้วลงมือทำอะไรซักอย่าง ทำอะไรบางอย่าง ทำอะไรก็ได้ ทำสิ่งเล็กๆทีละนิด เพื่อให้จิตใจคุณได้หยุดพักจากวังวนบ้าง การคิดมากก็แค่เป็นตัวย้ำเตือนความเจ็บปวด ที่คุณแคร์บางสิ่งมากไป หรือกระทั่งไม่ได้สนใจมันเลย…
มีคนนับล้านที่เคยดูวิดีโอที่ผู้หญิงกำลังกระซิบอยู่หน้ากล้อง เธอไม่ได้ทำอะไรน่าสนใจหรอก เธอก็แค่พูดเป็นทำนองกระซิบ และก็มีการเคลื่อนไหวมือนิดๆหน่อยๆ ทว่าผู้คนเป็นล้านกลับหลงใหลมัน... สำหรับคนที่ไม่เคยสัมผัสกับปรากฏการณ์แบบนี้ก็อาจจะเกิดคำถามว่า.. “เค้าทำอะไรวะ?” นี่คือโลกของ ASMR (Autonomous Sensory Meridian Response)…
ผ่านไปแล้วครึ่งปี 2021 อาจเป็นเรื่องยากที่จะคุมเกมชีวิตได้ เพราะสิ่งรบกวนต่างๆรอบตัวมันมีแต่จะเพิ่มมากขึ้น เพิ่มมากขึ้น... รายการสิ่งที่จะต้องทำนั้น ไม่มีวันสิ้นสุด... และดูเหมือนว่าจะไม่มี เวลา หรือ เครื่องมือ อะไรที่เพียงพอสำหรับการที่ทำอะไรให้มันสำเร็จได้เลย…
กำลังลังเล ไม่รู้จะปรึกษาใครดี ลองใช้ WADM | เครื่องมือช่วยวิเคราะห์การตัดสินใจ
จะทำยังไงเมื่อต้องเลือกสิ่งสำคัญที่อยู่ตรงหน้า ? จะทำยังไงเมื่อต้องตัดสินใจเรื่องสำคัญในชีวิต ? ลิสต์ ข้อดี-ข้อเสีย ออกมาดีไหม ? หรือว่าโยนเหรียญหัวก้อยเอา ? สุ่มจับเลข 1 – 10 ? หรือพักโครงการไว้ก่อน ค่อยคิดทีหลัง ? ให้คนอื่นตัดสินใจแทนไปเลย ? แน่นอนว่า มีหลายวิธีมากมาย แต่เมื่อมาถึงจังหวะที่ต้องตัดสินจากปัจจัยที่สำคัญตรงหน้า มันมีวิธีการที่ดีกว่านั้นค่ะ…
จากการศึกษาในปี 2009 พบว่าชาวอเมริกันโดยเฉลี่ยเสพข้อมูลเนื้อหาคอนเท้นท์ 34 กิกะไบต์ และข้อมูลข่าวสารถึง 100,000 คำใน ทุกๆวัน แน่นอนว่ามากกว่าที่บรรพบุรุษของเราเคยเสพอย่างแน่นอน -ตอนนั้น iPhone เพิ่งจะเปิดตัวมาได้ 1 ปี ใครจะรู้ว่าพวกเราใช้ข้อมูลกันมากแค่ไหนในวันนี้ เราแหวกว่ายอยู่ในมหาสมุทรที่คราครั่งไปด้วยข้อมูลและเรื่องราวต่างๆมากมายถาโถมประเดประดัง : สิ่งที่เราบอกกับตัวเอง สิ่งที่เราบอกกับคนอื่น สิ่งที่เรารับรู้จากข่าวสาร และสิ่งที่เราเลือกดูบนเน็ตฟลิกซ์ และหนังสือที่เราอ่าน ที่ฟังในพอดคาสท์ ที่เราตามในเฟสบุค อินสตราแกรม ทวิตเตอร์ งานวิจัยชี้ให้เห็นว่าเรื่องราวเหล่านี้มีผลกระทบอย่างมากต่อความเป็นอยู่ที่ดีของเรา…