คุณรู้ไหมว่าอะไรที่อันตรายยิ่งกว่า AI ? บทความนี้ Carlos E. Perez ได้พาคุณไปสำรวจรายละเอียดและแสดงให้เห็นว่าเทคโนโลยีในปัจจุบันนั้นทำให้เราโง่ขึ้นได้ยังไง พวกเราต่างเคยมีประสบการณ์ ในการใช้จีพีเอสนำทางไปยังที่ๆไม่คุ้นเคย จนมานึกได้ทีหลังว่าเราไม่มีความทรงจำหรือความสามารถที่จะไปยังสถานที่นั้นอีกครั้งหากปราศจากการนำทางของ GPS หรือกว่าจะจำทางได้นั้นก็ต้องพึ่งมันหลายหนเลยทีเดียว ไม่ใช่เพียงสัญชาตญาณเรื่องทิศทางของเราลดลงเพราะไม่ค่อยได้ใช้งาน แต่ความทรงจำของเราก็ด้วย พวกเราต่างสูญเสียความสามารถในการรำลึกเพราะการใช้อากู๋มากไปนั่นเอง ตอนนี้เราส่วนใหญ่จะชอบนึกไปในทางว่าเราจะค้นหาอะไรมากกว่าจดจำรายระเอียดของสิ่งๆนั้น…
overwhelmed
หนังสือเล่มนี้เขียนโดย ชาฮิดา อาราบี เป็นแหล่งข้อมูลที่ช่วยบุคคลที่มีความอ่อนไหวสูงในการจัดการความสัมพันธ์กับคนที่เป็นพิษในชีวิต อาราบีใช้ความเข้าใจของเธอเกี่ยวกับความอ่อนไหว ความฉลาดทางอารมณ์ และจิตวิทยา เพื่อให้แนวคิดและแนวทางเชิงปฏิบัติที่เอาไปใช้ได้จริง และนี้คือบทเรียนและข้อคิดสำคัญ 10 ข้อจากหนังสือ…
การผัดวันประกันพรุ่งไม่ใช่แค่ความขี้เกียจหรือบริหารเวลาที่ไม่ดีเท่านั้น แต่เป็นปรากฏการณ์ทางจิตวิทยาที่ซับซ้อนซึ่งส่งผลกระทบต่อพวกเราหลายๆคน ในบล็อกนี้ เราจะสำรวจจิตวิทยาเบื้องหลังการผัดวันประกันพรุ่ง ว่ามีผลกระทบอะไรบ้าง และกลยุทธ์ในการเอาชนะกันค่ะ…
จริงๆ แล้ว การทำงานอย่างฉลาดและเน้นไปที่สิ่งสำคัญต่างหากที่เป็นกุญแจสู่ความสำเร็จ work smart not work hard…
ปี๊ปๆ…ปี๊ป…ปี๊ปๆ…ปี๊ปเสียงนาฬิกาปลุกของคุณดังและต้องเผชิญกับการตัดสินใจครั้งแรกของวัน: “กดปุ่มเลื่อนปลุกไหม” คุณเดินไปที่ตู้เสื้อผ้าคำถามถัดมา: “จะใส่ชุดอะไรดี” คุณเช็คอีเมล “จะตอบตอนนี้หรือไว้ทีหลัง?” นี่เป็นเพียงไม่กี่นาทีแรกของคุณเมื่อตื่นขึ้น มันเป็นแค่สองสามอย่างแรกจากพันอย่างที่คุณจะต้องเลือกตลอดทั้งวัน…
เมื่อตอนยังเด็ก เราอาจจะไม่ทันสังเกตถึงความลื่นไหลที่เราสามารถเรียกชื่อนักแสดง ร้านอาหาร หรือครูประจำชั้นได้อย่างทันที แต่เมื่ออายุมากขึ้น สมองอาจไม่คล่องแคล่วว่องไวเหมือนแต่ก่อนนัก…
คุณจะเลือกวนเวียนอยู่กับความคิด หรือหยุดวนลูปนี้แล้วลงมือทำอะไรซักอย่าง ทำอะไรบางอย่าง ทำอะไรก็ได้ ทำสิ่งเล็กๆทีละนิด เพื่อให้จิตใจคุณได้หยุดพักจากวังวนบ้าง การคิดมากก็แค่เป็นตัวย้ำเตือนความเจ็บปวด ที่คุณแคร์บางสิ่งมากไป หรือกระทั่งไม่ได้สนใจมันเลย…
การที่คนเราทำอะไรไม่สำเร็จสักอย่าง ในมุมของการผัดวันประกันพรุ่ง ไม่ว่าจะงานใหญ่ หรือ Task งานเล็กๆ หากพูดถึงในแง่ของงานใหญ่อันที่จริงใครอาจจะปฏิเสธว่าฉันทำมันแล้ว ลงมือทำบางอย่างไปหลายต่อหลายครั้ง ก็ล้มเหลว…
พฤติกรรม 4 ประการที่เป็นรากฐานสําคัญของการควบคุมการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน นั่นก็คือ โมเดล CORD จากตอนหนึ่งของหนังสือ Productivity Ninja …
ดูเหมือนว่าโลกของเราไม่ได้อยู่ในปีที่สงบสุขเท่าไหร่ แม้ว่าโลกจะทำให้เรายากในการหาเวลาผ่อนคลาย แต่การนอนยาวๆ 8 ชั่วโมงนั้นถือว่ายังไม่เพียงพอ เชื่อเถอะว่าต้องมีหมออย่างน้อยสักหนึ่งคนที่ยืนยันว่า เราทุกคนจำเป็นต้องหาทางรีเซ็ตตัวเองและเติมพลังอยู่ดี…